สุขศึกษาพลศึกษา


โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา  เรื่อง  น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ “Herb for health
คณะผู้จัดทำ  1. เด็กหญิง สุมิชา   ศรีสมบัติ        เลขที่ 8
                      2. เด็กหญิง กานต์ธิดา   ชะนา       เลขที่ 10
                      3. เด็กหญิง พรชนก   สุระสาย      เลขที่ 19
                      4. เด็กหญิง รุจิรา   จันดีสาร          เลขที่ 29
                      5. เด็กหญิง วราลักษณ์   ชัยน้อย    เลขที่ 38
                      6. เด็กหญิง พจชนก   ศรีสมบัติ     เลขที่ 50
ครูที่ปรึกษา   นางลาวัณย์    นพพิบูลย์
สถานศึกษา   โรงเรียนอำนาจเจริญ  อำเภอเมือง  จังหวัดอำนาจเจริญ
บทคัดย่อ
ในการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์  เรื่องสารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ในครั้งนี้ เพื่อศึกษาการใช้สมุนไพรจากธรรมชาติที่สามารถหาและปลูกได้เองตามท้องถิ่นเพิ่มมูลค่าและประโยชน์ให้แก่สมุนไพร เนื่องจากปัจจุบันประชาชนทั่วไปหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้นและการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยรักษาสุขภาพหรือความสวยงาม และยังเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ประชาชนส่วนใหญ่ต้องตระหนักถึงและในปัจจุบันนี้ในผลิตภัณฑ์มีการปนเปื้อนของสารเคมีมากจนเกินไปและการใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆเหล่านี้ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยต่างๆ ผู้จัดทำโครงงานจึงคิดและทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ “Herb for health” โดยนำกลิ่นและสมุนไพรที่ได้สังเคราะห์ สกัดขึ้นมา เป็นส่วนหนึ่งในผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สีเขียวจากใบเตย และย่านาง สีน้ำเงินจากดอกอัญชัน สีน้ำตาลจากลำไย และสีแดงได้จากกระเจี๊ยบมีสีสวยงาม น่ารับประทาน
จากสมบัติดังกล่าวทำให้เราสามารถที่จะนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ได้ในทุกๆด้าน มาเป็นตัวช่วยในการปรับปรุงคุณภาพทางผลิตภัณฑ์ และอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดโครงงานครั้งนี้คือ ทางผู้จัดทำมีความคิดที่จะพัฒนาปรับปรุงสมุนไพรที่มีตามท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้กับวิทยาศาสตร์ และในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตและการเรียนรู้  ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของคุณครู ลาวัณย์  นพพิบูลย์ ที่ได้ให้คำแนะนำและแนะชี้แนวการปฏิบัติต่างๆในเรื่องสมุนไพรท้องถิ่น เพื่อเป็นการสร้างสรรค์ผลงานที่ดีต่อผู้จัดทำมากขึ้น
อุปกรณ์และวิธีดำเนินการทดลอง
ตอนที่ 1 การสกัดด้วยตัวทำละลาย
วัสดุอุปกรณ์และน้ำ
รายการ
ปริมาณ
1.             ใบเตย ใบย่านาง ดอกอัญชัน ลำไย กระเจี๊ยบ
10-20 g
2.             น้ำ
10 cm3
3.             ขวดน้ำ 600 cm3 พร้อมจุกปิดปากขวด
ขวด

วิธีทดลอง
1.             เขียนชื่อสมุนไพรติดข้างขวดทุกใบ ใส่ลงไปในหม้อแล้วต้ม ทิ้งไว้ชั่วโมงนำน้ำสมุนไพรใส่ในขวดเท่า ๆ กัน 5 ขวด
2.             เขียนชื่อสมุนไพรติดข้างขวดทุกใบแล้นำสมุนไพรไปแช่ในตู้เย็น
ตอนที่ 2 การทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
       วัสดุ                1.  ใบเตย      2. ใบย่านาง      3. ดอกอัญชัน      4. ลำไย      5. กระเจี๊ยบ                 6. น้ำตาล
        อุปกรณ์       1. ขวดน้ำ 600 มิลลิลิตร  จำนวน 5ขวด                2. ถาด
                                         3. หม้อ                                                                  4. ชาม
                                         5. เครื่องปั่น                                                           6. ถ้วย
                                         7. มีด                                                                      8. เขียง
                                        
                ตอนที่ 3 ดำเนินการทดลอง
1.             นำสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด นำมาล้างและหั่นเป็นชิ้นๆ
2.             ต้มสมุนไพรที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง
3.             แยกใส่ภาชนะบรรจุ ติดฉลาก
            
                 ผลการทดลอง
               ตอนที่ 1 ผลการทดลองน้ำสมุนไพร
สมุนไพร
สมุนไพรที่ไม่ต้ม
สมุนไพรที่ต้ม
น้ำที่ได้
น้ำที่ได้
ใบเตย
เป็นน้ำสีเขียวอ่อนมีกลิ่นหอมใบเตยเล็กน้อยเป็นสีเขียวเข้ม มีกลิ่นหอมใบเตยมาก
ดอกอัญชัน
เป็นน้ำที่น้ำเงินอ่อนๆ มีกลิ่นเฉพาะตัวเป็นน้ำสีน้ำเงินเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว
ดอกกระเจี๊ยบ
เป็นน้ำสีแดงอ่อนๆ มีกลิ่นเฉพาะตัวเป็นน้ำสีแดงเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว
ใบย่านาง
เป็นสีเขียวอ่อน มีกลิ่นเฉพาะตัว
เป็นสีเขียวเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว
ลำไย
เป็นสีน้ำตาลอ่อนมีกลิ่นเฉพาะตัว
เป็นสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว
                 



          


               






ตอนที่ 2 การทำแบบสำรวจความพึงพอใจผู้ดื่มน้ำสมุนไพรจำนวน 10 คน
สุ่มเลือกผู้ใช้จำนวนนักเรียนโรงเรียนอำนาจเจริญ จำนวน 10 คน แบ่งเป็นชาย 5 คน                             และเป็นหญิง 5 คน มีดังนี้
ที่
กลุ่มตัวอย่าง
คะแนนรวมระดับความพึงพอใจ
5
4
3
2
1
1
นักเรียนชาย
-
-
3
2
1
2
นักเรียนหญิง
5
-
-
-
1
รวม
5
0
3
2
1